วัตถุประสงค์โครงการ

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ได้ร่วมมือกับ
สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)ให้ดำเนินงานฝึกอบรมผู้บริหารและครู/อาจารย์ผู้ปฏิบัติงาน ณ สถานศึกษาประเภทสามัญศึกษา (ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา) และอาชีวศึกษาที่อยู่ในสังกัด การฝึกอบรมนี้เกิดขึ้นตามโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนสู่มาตรฐาน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ระยะที่ 2 (SP2) สาขาการศึกษา พ.ศ. 2553-2555 ของรัฐบาล โดยมีกรอบการดำเนินงานฝึกอบรม 3 กิจกรรมหลัก ได้แก่ (1). การฝึกอบรมผู้บริหารและครู/อาจารย์แกนนำทำหน้าที่ขับเคลื่อนการปฏิรูปคุณภาพการเรียนรู้ เรื่อง การบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ และ (2). การบริหารจัดการคุณภาพและการเรียนรู้ในสถานศึกษาและชั้นเรียน และการฝึกอบรมครู/อาจารย์ เรื่อง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551: แนวคิดและวิธีการปฏิบัติสู่ชั้นเรียน ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้บริหารและครู/อาจารย์ จำนวนทั้งหมด 51,000 คน ที่เข้ารับการฝึกอบรม ณ สถานที่จัดการฝึกอบรม 20 แห่ง กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย

SMARTPlanning 15-16 ตุลาคม 2553

บรรยากาศ Smartplanning

ประมวลภาพกิจกรรม วันที่ 29 พฤษภาคม 2553

ประมวลภาพกิจกรรม วันที่ 30 พฤษภาคม 2553

กิจกรรมเพิ่มความสุขระหว่างการอบรม

ตารางการจัดอบรม กิจกรรมที่ 2

ตารางการจัดอบรม กิจกรรมที่ 2

วันจันทร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

วันศุกร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

ใบงานที่ 1: “การปฏิบัติสู่ปัญญา”

กลุ่มที่………..
ใบงานที่ 1: “การปฏิบัติสู่ปัญญา”
จุดมุ่งหมาย:
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการวางแผนกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วม
(SMART Planning) เพื่อการบริหารจัดการคุณภาพและการเรียนรู้ทั้งในระดับสถานศึกษาและชั้นเรียน
2. สามารถวางแผนกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วมเพื่อการบริหารจัดการคุณภาพและการเรียนรู้ทั้งระดับสถานศึกษาและระดับกลุ่มสาระ/แผนกวิชาได้
เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม: 1.30 นาที
คำชี้แจง: ให้ใช้หลักการ SMART Planning กำหนด 1 M, 4 CP และ KPI ของแต่ละ CP

SI : ……………………………………………………………………………………………

ให้ใช้หลักการ SMART Planning กำหนด 1 M, 4 CP และ KPI ของแต่ละ CP
M1 : …………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………..
CP1 : ……………………………...……………………………………………………………
KPI1 : …………………...………………………………………………………………
….………………………………………………………………………………..
CP2 : ……………………………...……………………………………………………………
KPI2 : …………………...………………………………………………………………
….………………………………………………………………………………..
CP3 : ……………………………...……………………………………………………………
KPI3 : …………………...………………………………………………………………
….………………………………………………………………………………..
CP3 : ……………………………...……………………………………………………………
KPI4 : …………………...………………………………………………………………
….………………………………………………………………………………..
ประธานกลุ่ม ……………………………………………... มือถือ …...………………………

ใบงานที่ 2: “สร้างโอกาสจากวิกฤต”

ใบงานที่ 2: “สร้างโอกาสจากวิกฤต”
จุดมุ่งหมาย:
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการวางแผนกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วม
(SMART Planning) เพื่อการบริหารจัดการคุณภาพและการเรียนรู้ทั้งในระดับสถานศึกษาและชั้นเรียน
2. สามารถวางแผนกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วมเพื่อการบริหารจัดการคุณภาพและการเรียนรู้ทั้งระดับสถานศึกษาและระดับกลุ่มสาระและแผนกวิชาได้
เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม: 60 นาที
คำชี้แจง: แก้ไขผลการระดมความคิด WS1 ให้ถูกต้อง นำเฉพาะ CP1 มากำหนด KPI1 แล้วใช้หลักคิด 5 Why? กำหนด LOA เพื่อบรรลุ KPI1 จากนั้นกำหนดชื่อโครงการที่ประกอบด้วย LOA ดังกล่าว
SI : ………………………………………………………………………………………………………………
M1 : ...……………………………………………………………………………………………….……………
CP1 : ..……………………………...………………………………………………………………….…………
KPI1 : …………………...……………………………………………………………………………

5 Why? Action (A)
ทำไม ……………………………………………………………………………………………
เพราะ……………………………………………………………………………………………

ทำไม ……………………………………………………………………………………………
เพราะ……………………………………………………………………………………………

ทำไม ……………………………………………………………………………………………
เพราะ……………………………………………………………………………………………

ทำไม ……………………………………………………………………………………………
เพราะ……………………………………………………………………………………………

ทำไม ……………………………………………………………………………………………
เพราะ……………………………………………………………………………………………


P (โครงการ): ………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………….
ประธานกลุ่ม ……………………………………………... มือถือ …...………………………

ใบงานที่ 3: “ครูเข้าใจตนเองและผู้เรียน”

ใบงานที่ 3: “ครูเข้าใจตนเองและผู้เรียน”
จุดมุ่งหมาย:
เข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student-centered learning management)
เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม: 5-7 นาที
คำชี้แจง: เมื่อท่านจำเป็นต้องเข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลิกภาพ ซึ่งมีกิจกรรมบังคับให้ท่านจะต้องแสดงความสามารถบนเวทีด้วยการร้องเพลงลูกทุ่ง ท่านรู้สึกไม่ชอบการร้องเพลง จึงเสนอแนะให้เปลี่ยนเป็นการเล่นดนตรีตามที่ท่านถนัดแทน แต่ผู้รับผิดชอบโครงการไม่เห็นด้วย พร้อมทั้งเลือกเพลงลูกทุ่งที่ตนเองชอบ และยืนยันให้ท่านร้องเพลงลูกทุ่งที่ตนชอบจนจบ ท่านจำใจร้องเพลงนั้นเพื่อให้ผ่านพ้นกิจกรรมไปได้ [จากเงื่อนไขดังกล่าวนี้ ขอให้ผู้เข้าอบรมโปรดตอบข้อคำถามต่อไปนี้]
1. ท่านรู้สึกอย่างไรเมื่อถูกบังคับให้กระทำในสิ่งที่ไม่ชอบและไม่ถนัด
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………......
………………………………………………………………………………………………………………..
2. ท่านรู้สึกอย่างไรเมื่อผู้รับผิดชอบโครงการไม่สนใจข้อเสนอของท่าน โดยที่ไม่ได้คำนึงถึงความรู้สึกอึดอัดใจจนทำให้ท่านต้องเสนอขอเปลี่ยนการแสดง
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………......
………………………………………………………………………………………………………………..
3. หากผู้รับผิดชอบโครงการกระทำในสิ่งที่ตรงข้าม โดยคำนึงถึงความรู้สึกไม่สบายใจที่เกิดกับ
ท่าน และให้การสนับสนุนส่งเสริมให้ท่านแสดงออกในสิ่งที่ท่านถนัด ท่านจะรู้สึกอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………......
………………………………………………………………………………………………………………..
4. สุดท้ายท่านคิดว่าผลการแสดงที่ปรากฏระหว่างการร้องเพลงที่ท่านไม่ชอบ กับ การเล่น
ดนตรีที่ท่านถนัด สิ่งใดจะให้ผลดีกว่ากัน
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………......
………………………………………………………………………………………………………………..

ใบงานที่ 4: การประเมินลักษณะการสอนที่ทำให้ผู้เรียนมีความสุขและไม่ทำให้ผู้เรียนมีความสุข

ใบงานที่ 4: การประเมินลักษณะการสอนที่ทำให้ผู้เรียนมีความสุขและไม่ทำให้ผู้เรียนมีความสุข
จุดมุ่งหมาย:
เข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student-centered learning management)
เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม: 5-7 นาที
คำชี้แจง: จากประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านมา ท่านประเมินได้ว่าลักษณะการเรียนการสอนแบบใดที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้อย่างมีความสุข รู้สึกสนุกที่ได้เรียนรู้ ภาคภูมิใจในศักยภาพและพลังการเรียนรู้ที่ตนเองมี และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าระดับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ และลักษณะการเรียนการสอนแบบใดที่ท่านคิดว่าทำให้ผู้เรียนมีลักษณะตรงข้ามกับที่กล่าวนี้ [ขอให้ผู้เข้าอบรมกรุณาให้ความเห็นดังต่อไปนี้]

1. ลักษณะการสอนที่ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข จำนวนอย่างน้อย 3 แบบ พร้อมทั้งจัดลำดับ
ความสำคัญ
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………......
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………......
………………………………………………………………………………………………………………..
2. ลักษณะการสอนที่ผู้เรียนไม่ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข จำนวนอย่างน้อย 3 แบบ พร้อมทั้ง
จัดลำดับความสำคัญ
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………......
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………......
………………………………………………………………………………………………………………..

ใบงานที่ 5: SMART Planning เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นสำคัญ

ใบงานที่ 5: SMART Planning เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นสำคัญ
จุดมุ่งหมาย:
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. สามารถวางแผนกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วม (SMART Planning] เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม: 45 นาที
คำชี้แจง ให้ใช้หลักการ SMART Planning กำหนด 1 M, 4 CP เพื่อปฏิรูปคุณภาพการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในชั้นเรียน

SI : (ปัจจัยด้านครู/ผู้บริหาร)
……………………………………………………….……………………………………………
ให้ใช้หลักการ SMART Planning กำหนด 1 M, 4 CP เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
M1 : (ครอบคลุมระยะเวลา 3 เดือน)

……………………………………………………..…………………………………………...
……………………………………………………...…………………………………………..

CP1 : ……………………………...……………………………………………………………

CP2 : ……………………………...……………………………………………………………

CP3 : ……………………………...……………………………………………………………

CP4 : ……………………………...……………………………………………………………


ผู้จัดทำ........................................................................... ตำแหน่ง.......................................

ใบงานที่ 6: “ผู้เรียนพันธุ์เน็ตแลครูพันธุ์ใหม่”

การเรียนรู้ในอนาคต: ลักษณะผู้เรียน สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับ
ครูมืออาชีพ และการจัดการเรียนการสอน


ใบงานที่ 6: “ผู้เรียนพันธุ์เน็ตแลครูพันธุ์ใหม่”

จุดมุ่งหมาย:
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถบอกลักษณะและแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับผู้เรียน สมรรถนะของครูมืออาชีพ และการเรียนรู้ในอนาคตสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม: 60 นาที
คำชี้แจง: 1. ผู้เข้ารับการอบรมแบ่งกลุ่ม ๆ ละประมาณ 12-15 คน (แยกกลุ่มกันระหว่างผู้บริหาร และครูแกนนำขับเคลื่อนคุณภาพการเรียนรู้ในสถานศึกษาและชั้นเรียน)
2. ผู้เข้ารับการอบรมร่วมกันอภิปรายในประเด็นที่กำหนดให้

ประเด็นการอภิปราย
1. ลักษณะและแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 ความรับผิดชอบและพึ่งพาตนเองในการเรียนรู้
1.2 ทักษะการคิด
1.3 ทักษะในการทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่น
1.4 ทักษะในการแสวงหาความรู้
1.5 ความกระตือรือร้น
1.6 ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)
1.7 ทักษะในด้านการใช้ภาษา
1.8 ความสนใจในวัฒนธรรมและความตระหนักถึงความเป็นไปในสังคมโลก
ผลการอภิปราย
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................



2. ลักษณะและแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสมรรถนะของครูมืออาชีพและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน ในด้านต่างๆ ต่อไปนี้
2. ลักษณะและแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสมรรถนะของครูมืออาชีพและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนสำหรับสถานศึกษาเอกชนในด้านต่างๆ ต่อไปนี้
2.1 ความรู้ในเนื้อหาสาระ/วิชาที่สอน
2.2 ความรู้ความเข้าใจในตัวผู้เรียน
2.3 ความรู้ความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อให้การสอน
เกิดประสิทธิผลสูงสุด
2.4 ความสามารถในการด้านการจัดทำสื่อและอุปกรณ์การสอน
2.5 ความสามารถในด้านการวัดและการประเมินผล
2.6 ทักษะที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
2.7 ทักษะในด้านการสร้างความสัมพันธ์กับฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ร่วมงานใน
สถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่นๆในชุมชน

ผลการอภิปราย
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ประธานกลุ่ม ……………………………………………... มือถือ …...………………………

ใบงานที่ 7: “แผนปฏิบัติการเพื่ออนาคต”

ใบงานที่ 7: “แผนปฏิบัติการเพื่ออนาคต”

จุดมุ่งหมาย:
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมร่วมกันวางแผนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในอนาคตสำหรับสถานศึกษาสังกัด สช. (ระดับปฐมวัย ประถม มัธยม หรือ/และอาชีวศึกษา) โดยอาศัยแนวคิด และหลักการของ SMART Planning
เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม: 90 นาที
คำชี้แจง: 1. ผู้เข้ารับการอบรมแบ่งกลุ่ม ๆ ละประมาณ 12-15 คน (แยกกลุ่มกันระหว่างผู้บริหาร และครูแกนนำผู้ขับเคลื่อนคุณภาพการเรียนรู้ในสถานศึกษาและชั้นเรียน)
2. ผู้เข้ารับการอบรมร่วมกันวางแผนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในอนาคตสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนตามแนวคิดและหลักการของ SMART Planning โดยดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอนดังนี้
2.1 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ (SI) 3 ประเด็นที่เอื้อต่อการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในอนาคตสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
2.2 กำหนดพันธกิจ (M) 1 พันธกิจ ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ (SI) ซึ่งเป็นเป้าหมายที่สถานศึกษาต้องดำเนินการให้บรรลุผลสำเร็จภายในระยะเวลา 3 เดือน

ผลการทำกิจกรรม ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ประธานกลุ่ม ……………………………………………... มือถือ …...………………………